ภูมิหลังปัญหา :
ในหมู่บ้านหรือชุมชนสังคมที่ต้องพึ่งพาอาศัยกัน
ไม่มีใครอยู่ได้เพียงลำพังโดยไม่พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันโดยส่วนใหญ่ชุมชนหรือหมู่บ้านนั้นจะเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับทั้งคนในชุมชนตนเองหรือชุมชนอื่น
หมู่บ้านเป็นสังคมขนาดเล็กที่เกิดจากหลายครอบครัวมาอาศัยอยู่ในพื้นที่และอยู่ในความปกครองเดียวกัน
มีผู้นำชุมชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันและโครงสร้างทางวัฒนธรรม
ที่ดำรงชีวิตต้องพึ่งพาอาศัยกันและกัน ชุมชนจึงเป็นอีกส่วนหนึ่งของจุดเริ่มต้นของการเรียนรู้
เป็นแหล่งบ่มเพาะค่านิยมและวิถีชีวิตที่งดงามของคนในชุมชนเป็นแบบอย่างให้กับเด็กๆได้เข้าใจและรู้จักรากเหง้าของตนเอง
ดังนั้นความเข้าใจเกี่ยวกับชุมชนที่ตนเองอาศัยอยู่จึงมีความจำเป็นเพื่อให้รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
เคารพสิทธิ ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของแต่ละบุคคลแต่ละครอบครัวในหมู่บ้านของตนเอง
เกิดความภาคภูมิใจในชุมชนในท้องถิ่นที่ตนเองอาศัยอยู่ เห็นคุณค่าของทรัพยากรในท้องถิ่นร่วมถึงการมีส่วนร่วมในการสืบสานวัฒนธรรมประเพณีในท้องถิ่นของตนเอง
ปฏิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ PBL (Problem Based Learning)
หน่วย : “ ชุมชนน่าอยู่
”
ระดับชั้นอนุบาล 2 (Quarter 2) ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2559
Week
|
lnput
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
8-12 ส. ค. 59
|
โจทย์ :
- สร้างแรงบัลดาลใจ
- ปรับตัว
Key Questions
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร? ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
-
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard Share : ชื่อ หน่วย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศภายในชั้นเรียน
-
บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทานเรื่อง “ชุมชนของฉัน”
|
-
ครูพานักเรียนเดินสำรวจสิ่งต่างๆรอบบริเวณภายในโรงเรียน
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ชุมชนของฉัน” เพื่อสร้างแรงบัลดาลใจอยากเรียนรู้เรื่อง “เกี่ยวกับชุมชน”
- ทบทวนวิถี
- ทบทวนการบ้าน
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ฟัง
ชิ้นงาน
-
วาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
-
ปั้นดินน้ำมันชุมชนของฉันจากที่ได้ฟังในนิทาน
|
ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น
และอธิบายสิ่งที่ตนเองสนใจและอยากเรียนรู้โดยให้เหตุผลอ้างอิง
เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองและเลือกสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
-
ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
2
15 – 19ส.ค. 59
|
โจทย์ :
สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน หน่วย
“ ชุมชนน่าอยู่ ”
Key Question
นักเรียนรู้เรื่องอะไรบ้างและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับชุมชน
?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้เกี่ยวกับชุมชน
Think Pair Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากรู้
Blackboard Share : สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน เรื่อง “ ชุมชนสีขาว “
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“ชุมชนสีขาว”
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง "ชุมชนแสนสุข"
- ครูเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้บนกระดาน
- ครูและนักเรียนช่วยกันจัดหมวดหมู่เกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันชุมชนของหนู
|
ภาระงาน
-
พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองรู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับชุมชน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดหมวดหมู่เกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
-
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทานที่ได้ฟัง
ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ปั้นดินน้ำมันชุมชนของหนู
|
ความรู้
สามารถแสดงความคิดเห็น
และอธิบายสิ่งที่ตนเองรู้และต้องการรู้เกี่ยวกับชุมชน โดยให้เหตุผลอ้างอิง
เพื่อสร้างความเข้าใจของตนเองได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
-
มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
3
22 - 26ส.ค. 59
|
โจทย์ :
บ้านของนักเรียนอยู่ที่ไหน
Key Questions
ชื่อหมู่บ้านนักเรียนชื่อว่าอะไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับหมู่บ้านของตนเอง
Wall Thinking : วาดภาพหมู่บ้าน
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “บ้านพอเพียง”
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“บ้านพอเพียง”
- ครูให้นักเรียนสอบถามผู้ปกครอง
ผู้รู้ในหมู่บ้านตนเองเช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน
ฯลฯ
- นักเรียนแบ่งกลุ่มตามหมู่บ้านที่ตนเองอาศัยอยู่ ชื่อหมู่บ้าน จุดเด่นหรือสัญลักษณ์ที่บ่งบอกว่าเป็นหมู่บ้านของตนเองที่สามารถจดจำได้ง่าย
- แต่ละกลุ่มนำเสนอหมู่บ้านของกลุ่มตนเอง
- เชิญวิทยากร (ผู้ใหญ่บ้าน มาให้ความรู้)
- ครูให้นักเรียนจับฉลาก แบ่งกลุ่ม แสดงบทบาทสมมติ
- นักเรียนแสดงบทบาทสมมติบทบาทหน้าที่
ผู้ใหญ่บ้าน ชาวบ้าน
|
ภาระงาน
สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับหมู่บ้านที่ตนเองอยู่
เช่น จำนวนครอบครัว อาชีพ สถานที่ในชุมชน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับชื่อหมู่บ้านของตนเองร่วมกัน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับบทบาทสมมติ
ชิ้นงาน
- วาดภาพบ้านของตนเอง
- ปั้นดินน้ำมันหมู่บ้าน
- ประดิษฐ์บ้านจากวัสดุต่างๆ
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายที่ตั้งของหมู่บ้าน
ร่วมทั้งสามารถ บอกความเป็นมาของหมู่บ้านตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
4
29 ส.ค. –2 ก.ย. 59
|
โจทย์
:
- สถานที่ ที่สำคัญในชุมชน
- หมู่บ้าน
- วัด
- โรงเรียน
- สถานีตำรวจ
- สถานีรถไฟ
- โรงพยาบาล
- ตลาด
Key Questions
นักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อไปใช้สถานที่ต่างๆในชุมชน?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการปฏิบัติตนในสถานที่ต่างๆในชุมชน
Wall Thinking :
ใบงาน web สถานที่ต่างๆ
ในชุมชน
Show and Share : ปะติดสถานที่ต่างๆในชุมชน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- หมู่บ้าน
- วัด
- สถานีตำรวจ
- สถานีรถไฟ
- โรงพยาบาล
- ตลาด
- โรงเรียน
- บริเวณรอบๆ โรงเรียน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “บ้านฉันดีที่สุด” เพื่อให้นักเรียนเห็นความสำคัญของสถานที่ในชุมชนมากขึ้น
- ครูนำบัตรภาพสถานที่ต่างๆในชุมชนมาให้นักเรียนสังเกต
- แบ่งกลุ่มทำโมเดลสถานที่จากวัสดุต่างๆ เช่น ไม้ไอศกรีม เลโก้
กล่องกระดาษลัง
ดินน้ำมัน
- ครูนักเรียนผู้ปกครองเรียนรู้นอกสถานที่
เช่น วัด
- สถานีตำรวจ
- โรงพยาบาล
- ครูและนักเรียนสำรวจชุมชน
สถานีรถไฟเพื่อให้นักเรียนได้รู้ถึงการเดินทางว่ามีหลายวิธีในปัจจุบันมีส่วนน้อยที่เดินทางด้วยรถไฟรวมถึงการไปใช้สถานที่การไปใช้บริการนักเรียนจะปฏิบัติตนอย่างไรและสถานีรถไฟยังมีห้องสมุดซึ่งเป็นแหล่งเรียนรู้
- วาดภาพตัดปะสถานที่ต่างๆในชุมชนที่ประทับใจ
- นักเรียนเขียน web สถานที่ต่าง ๆ
ภายในชุมชน
|
ภาระงาน
-
แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการปฏิบัติในแต่ละสถานที่ต่างๆ
- แสดงความคิดเห็นจากกิจกรรมเรียนรู้นอกสถานที่
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์โมเดลสถานที่ต่างๆในชุมชน
- วาดภาพที่ประทับใจจากการไปเรียนรู้นอกสถานที
- ปะติดสถานที่ต่างๆในชุมชนที่ประทับใจ
- ปั้นดินน้ำมันสถานที่ต่างๆ ในชุมชน
-นักเรียนเขียน web สถานที่ต่าง ๆ
ภายในชุมชน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและเห็นความสำคัญของสถานที่ในชุมชนรวมถึงการปฏิบัติตนร่วมกับผู้อื่นได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
5
5 – 9ก.ย. 59
|
โจทย์ :
บทบาทอาชีพในชุมชน
Key Questions
จะเกิดอะไรขึ้นถ้าทุกคนทำอาชีพเดียวกัน
เพราะอะไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของแต่ละอาชีพ
(บุคคลภายในชุมชน)
Wall Thinking :
-
หุ่นมืออาชีพต่างๆจากถุงกระดาษ
- ใบงานสอบถามผู้รู้
เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนแต่ละอาชีพ
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-
บรรยากาศในชั้นเรียน
-
ภาพโปสเตอร์
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูทายปริศนาคำทายเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ
- นักเรียนสอบถามผู้รู้ (ครู ผู้ปกครอง คุณลุง
คุณป้า ) เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนแต่ละอาชีพ (งานกลุ่ม)
- เชิญวิยากร ผู้ปกครอง อาชีพต่างๆ
มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับนักเรียน
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 5 คน แสดงบทบาทสมมติ เกี่ยวกับแต่ละอาชีพ
มีหน้าที่ทำอะไร จากที่ได้ฟังอาชีพต่างๆ จากผู้ปกครอง
- นักเรียนประดิษฐ์หุ่นมืออาชีพต่างๆจากถุงกระดาษ
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันรูปบุคคลภายในชุมชนของตนเอง
- Show and Share นำเสนอบทบาทหน้าที่ของบุคคลแต่ละอาชีพ
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมปริศนาคำทาย
- แสดงบทบาทสมมติบุคคลต่างๆ ภายในชุมชน
- สอบถามผู้รู้เกี่ยวกับอาชีพ
-
การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
- นำเสนอผลงาน
ชิ้นงาน
- ใบงานสอบถามผู้รู้
เรื่องบทบาทหน้าที่ของคนแต่ละอาชีพ
- ปั้นดินน้ำมันรูปบุคคลภายในชุมชน
- ประดิษฐ์ ประดิษฐ์หุ่นมืออาชีพต่างๆจากถุงกระดาษ
|
ความรู้
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตนเอง
และบุคคลแต่ละอาชีพ สามารถปฏิบัติหน้าที่ของตัวเองได้อย่างเต็มศักยภาพ
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
6
12 –16ก.ย. 59
|
โจทย์ :
อาหารตามฤดูกาล
Key Questions
นักเรียนมีวิธีเลือกกินอาหาร
ที่ทำให้มีสุขภาพแข็งแรงได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจบริเวณโรงเรียน
Wall Thinking :
ขั้นตอนการทำอาหาร
Show and Share : นำเสนอวาดภาพขั้นตอนการทำอาหาร
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทานเรื่อง “อาหารดีมีประโยชน์”
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง
“อาหารดีมีประโยชน์”
-
ครูและนักเรียนเดินสำรวจรอบบริเวณโรงเรียน เพื่อดูเกี่ยวกับพืชผัก สัตว์ต่างๆ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนสังเกตเห็นพืชผักชนิดใดบ้าง
ในหมู่บ้านของเรามีผักอะไรบ้าง สามารถนำไปทำอะไรได้บ้าง? ”
- แบ่งกลุ่มนักเรียนออกเป็น 5 กลุ่ม การประกอบอาหารพื้นถิ่น
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มจัดเตรียมอุปกรณ์สำหรับประกอบเมนูอาหารของกลุ่ม
- แต่ละกลุ่มร่วมกันประกอบอาหารร่วมกันและนำเสนอกระบวนการ
ขั้นตอนการทำอาหาร
|
ภาระงาน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับอาหารที่ทำร่วมกัน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำตลอดทั้งสัปดาห์
-
จัดเตรียมวัตถุดิบ/อุปกรณ์ในการทำอาหาร
ชิ้นงาน
- ประกอบอาหาร
-
วาดภาพและเขียนขั้นตอนการทำอาหาร
- ปั่นดินน้ำมันประโยชน์จากผัก
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจและสามารถอธิบายเกี่ยวกับอาหารตามฤดูกาลที่มีในพื้นถิ่นและสามารถนำมาประกอบอาหารได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
7
19 – 23ก.ย. 59
|
โจทย์ :
การประกอบการ
สร้างผลิตภัณฑ์ในชุมชน
(ของกิน ของใช้จากวัสดุพื้นถิ่น)
Key Questions
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวข้องกับการใช้ชีวิตประจำวันของเราอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms
Show and Share:
ประดิษฐ์พวงกุญแจ
Wall Thinking:
ใบงานเขียน web การประกอบอาหารพื้นถิ่น
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- นิทาน
- เพลง เพลง
อาหาร 5 หมู่
|
-
ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง
อาหาร 5 หมู่
- นักเรียนสอบถาม ผู้ปกครอง
เกี่ยวกับการประกอบการ
ผลิตภัณฑ์และของใช้ในชุมชน
- นักเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากสิ่งที่ได้ไปสอบถามผู้ปกครอง
- ครูและนักเรียนร่วมกันระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับ
การประกอบอาหารพื้นถิ่น
ของใช้ในชุมชน ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
- ผู้ปกครองมาสร้างการเรียนรู้ให้กับนักเรียนเกี่ยวกับ
การประกอบอาหารพื้นถิ่น
ของใช้ในชุมชน ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
- ครูและนักเรียนช่วยกันเตรียม
ตะไคร้
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำ ตะไคร้หอมไล่ยุ้ง
- ครูและนักเรียนร่วมกันทำ น้ำยาฆ่าเห่า
จากใบน้อยหนา
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเพลงที่ฟัง
- แสดงความคิดเห็นสอบถาม ผู้ปกครอง เกี่ยวกับการประกอบการ ผลิตภัณฑ์และของใช้ในชุมชน
-
พูดคุยแสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำตะไคร้หอมไล่ยุ้ง
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำ
น้ำยาฆ่าเห่า
(จากใบน้อยหนา)
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหารพื้นถิ่น ผลิตภัณฑ์ในชุมชน
ชิ้นงาน
- ประดิษฐ์พวงกุญแจ
- ปั้นดินน้ำผลิตภัณฑ์ที่มีในชุมชนของตนเอง
- ใบงานเขียน web การประกอบอาหารพื้นถิ่น
|
ความรู้
เข้าใจและอธิบายเกี่ยวกับภูมิปัญญาท้องถิ่น
ของตนเองให้ผู้อื่นเข้าใจและนำมาปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
8
26 – 30ก.ย. 59
|
โจทย์ :
ความสัมพันธ์ของชุมชน
อาชีพต่างๆและสถานที่ต่างๆ
Key Questions
นักเรียนคิดว่าแต่ละอาชีพมีความสัมพันธ์กันอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
นักเรียนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท
หน้าที่ของตนเอง และผู้อื่น
Wall Thinking:
ใบงานวาดภาพระบายสีอาชีพของบุคคลในครอบครัว
Show and Share:
นักเรียนปั้นดินน้ำมันอาชีพในชุมชน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- ครอบครัวมีสุข
- การจำลองเหตุการณ์
- เกมจับคู่สถานที่กับอาชีพ
|
ครูเล่านิทานเรื่อง ครอบครัวมีสุข เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
-
ครูจำลองเหตุการณ์ขึ้นแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทสมมติกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
- วาดภาพบุคคลและสถานที่ที่กลุ่มเราได้แสดงบทบาทสมมติ
-
ครูให้นักเรียนโยงจับคู่ภาพอาชีพกับสถานที่หรือสิ่งที่เกี่ยวข้องกับอาชีพนั้น
เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ของอาชีพและสถานที่มากขึ้น
- ปะติดรูปภาพบุคคลและสถานที่
|
ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการสังเกตการณ์ทำงานของบุคคลต่างๆ ภายในโรงเรียน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาท หน้าที่ของตัวเองและผู้อื่น
ชิ้นงาน
- วาดภาพระบายสีวงจรความสัมพันธ์บุคคลและสถานที่
- นักเรียนปั้นดินน้ำมันอาชีพในชุมชน
- นักเรียนปะติดบุคคลและสถานที่
- นักเรียนเล่นเกมจับคู่ภาพอาชีพ
|
ความรู้
เข้าใจ
และรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับชุมชนรวมถึงบุคคลและสถานที่ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
สามารถปฏิบัติตนตามข้อตกลงได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
|
9
3 – 7ก.ย. 59
|
โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
- นิทรรศการ
- ละคร
Key Questions
นักเรียนจะอยู่ร่วมกับคนอื่นได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากหน่วย “ชมชนของหนู”
Wall Thinking :
ใบงานเขียน Mind Mapping สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ
“ชุมชนน่าอยู่”
Show and Share :
วาดภาพสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใน
Q 2
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
- ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
|
-
ครูนำนิทานเรื่อง"หนูเป็นเด็กดี"มาเล่าให้นักเรียนฟังเพื่อให้นักเรียนได้รู้บทบาทหน้าที่ของตนเอง
คิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่ของนักเรียนทั้งอยู่ที่บ้านและอยู่ที่โรงเรียนรวมถึงการปฏิบัติในสถานที่ต่างๆร่วมกับผู้อื่น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนเกี่ยวกับสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในหน่วย"
ชุมชนของหนู “
"นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างในหน่วย
“ชุมชนน่าอยู่”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และเผยแพร่ให้ผู้อื่นเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้มา
ใน Q 2
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้
- วาดภาพสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใน Q 2
|
ภาระงาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหน้าที่ของนักเรียนทั้งอยู่ที่บ้านและอยู่ที่โรงเรียนรวมถึงการปฏิบัติในสถานที่ต่างๆร่วมกับผู้อื่น
ชิ้นงาน
- เขียน Mind Mapping สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “ชุมชนของหนู”
- วาดภาพสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ใน Q.2
|
ความรู้
รู้และเข้าใจเกี่ยวกับชุมมากชนมากขึ้น สามารถปฏิบัติตนต่อสถานที่ต่างๆ ภายชุมชนและสถานที่ต่างๆได้อย่างเหมาะสม
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสังเกต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
คุณลักษณะ :
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ
มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน
-
|
ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ
หน่วย “ ชุมชนในอดีต ” ระดับชั้นอนุบาล 2 ประจำ Quarter
2 ปีการศึกษา 1/2559
สาระการเรียนรู้
|
พัฒนาการ
|
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้
|
สาระ
1.สร้างฉันทะ
สร้างแรงบันดาลใจ เผชิญกับปัญหา
2. เลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว สิ่งที่อยากเรียนรู้
3. หมู่บ้าน
- ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
- ชื่อของหมู่บ้าน
4.ประเพณี
- ประเพณีบุญข้าวประดับดิน
- ประเพณีบุญข้าวจี่
- ประเพณีบุญเบิกบ้าน
- ประเพณีลอยกระทง
- ประเพณีสงกรานต์
- ประเพณีเข้าพรรษา
- ประเพณีออกพรรษา
5. การละเล่นพื้นบ้านในสมัยก่อน
- กระโดดยาง
- เป่าหนังยาง
- ม้าก้านกล้วย ปืนก้านกล้วย
- รีรีข้าวสาร
- มอนซ้อนผ้า
- เดินกะลา
- กาฟักไข่
- หมากเก็บ
- ขี่ม้าส่งเมือง
- ม้าหลังโปก
- โพงพาง
- ปิดตาตีปิ๊บ
- ฯลฯ
6. สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
|
ด้านร่างกาย
ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย
ประดิษฐ์ชิ้นงาน ได้แก่
ขีดเขียน วาดภาพบุคคล, ระบายสีไม้,
สีเทียน, เล่นกับสีน้ำ
เช่น เป่าสี พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปครอบครัวและสิ่งมีชีวิตอื่น, ต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ,
ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ
ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า
|
พัฒนาการทางด้านร่างกาย
มาตรฐานที่ 1 ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีสุขภาพอนามัย
สุขนิสัยที่ดี
และรู้จักรักษาความปลอดภัย
มาตรฐานที่ 2 กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสานสัมพันธ์กัน
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 เคลื่อนไหวร่างกายคล่องแคล่วและทรงตัวได้
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เล่นและออกกำลังกาย
ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 .ใช้มือได้อย่างคล่องแล้วและประสานสัมพันธ์กัน
|
ด้านอารมณ์และจิตใจ
ผู้เรียนมีวินัย
ความรับผิดชอบ ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน
ทำงานจนสำเร็จ และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง ได้แก่ การShow and Shareผลงานในแต่ละสัปดาห์ การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด
การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
- ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ เช่น การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน
อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน
- ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย
ได้แก่ มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูด มีมารยาทในการรับประทานอาหาร ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
- ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
- ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข
ได้แก่ การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจ
การแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ
|
พัฒนาการทางด้านอารมณ์
จิตใจ
มาตรฐานที่ 3 มีสุขภาพจิตดี และมีความสุข
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1
แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสมกับวัยและสถานการณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2
มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 มีความเห็นอก เห็นใจผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4 ชื่นชมและแสดงออกทางศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สนใจและมีความสุขกับศิลปะ
ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 แสดงออกทางด้านศิลปะ ดนตรี
และการเคลื่อนไหวตามจินตนาการ
มาตรฐานที่ 5 มีคุณธรรม จริยธรรม
และมีจิตใจที่ดีงาม
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีความรับผิดชอบ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2
ซื่อสัตย์สุจริตและรู้ถูกรู้ผิด
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 มีความเมตตากรุณา มีน้ำใจและช่วยเหลือแบ่งปัน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ประหยัด อดออม และพอเพียง
|
|
ด้านสังคม
- ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม
เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
- ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู
เพื่อนและผู้อื่น
|
พัฒนาการด้านสังคม
มาตรฐานที่ 6 มีทักษะในการดำเนินชีวิต
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 มีวินัยในตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2
ช่วยเหลือตนเองในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
ตัวบ่งชี้ที่ 6.3
ระหวังภัยจากคนแปลกหน้าและสถานการณ์ที่เสี่ยงอันตราย
มาตรฐานที่ 7 รักธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
วัฒนธรรม และความเป็นไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1
ดูแลรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.2
มีสัมมาคารวะและมารยาทตามวัฒนธรรมไทย
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 รักความเป็นไทย
มาตรฐานที่ 8
อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของสังคมในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1
ยอมรับความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2
มีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ปฏิบัติตนเบื้องในการเป็นสมาชิกที่ดีของสังคม
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
|
|
ด้านสติปัญญา
- ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
- ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
- ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร
สามารถถ่ายทอดเรื่องราว
เกี่ยวกับครอบครัว
และสิ่งมีชีวิตอื่นจากประสบการณ์ที่ได้พบเห็นให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ผู้เรียนสนทนาโต้ตอบเป็นเรื่องราวกับผู้อื่นได้
- ผู้เรียนมีทักษะในการดูแลสุขภาพของตนเอง
- ผู้เรียนสามารถนับ
ตัก ตวงเครื่องปรุงอย่างง่ายๆในการประกอบอาหารได้
|
พัฒนาการด้านสติปัญญา
มาตรฐานที่ 9
ใช้ภาษาสื่อสารได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 9.1
สนทนาโต้ตอบและเล่าเรื่องให้ผู้อื่นเข้าใจ
ตัวบ่งชี้ที่ 9.2 อ่าน เขียนภาพ และสัญลักษณ์ได้
มาจรฐานที่ 10
มีความสามารถในการคิดที่เป็นพื้นฐานในการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 มีความสามารถในการคิดแก้ปัญหา
ตัวบ่งชี้ที่ 10.2
มีความสามารถในการคิดเชิงเหตุผล
ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 มีความสามารถในการคิดรวบยอด
มาตรฐานที่ 11
มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 11.1 เล่น /
ทำงานศิลปะตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 11.2 แสดงท่าทาง /
เคลื่อนไหวตามจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง
มาตรฐานที่ 12
มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
และมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 12.1 มีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 12.2
มีความสามารถในการแสวงหาความรู้
|
ตาราง เชื่อมโยงหน่วย “ชุมชนในอดีต
”
กับพัฒนาการทั้ง 4 ด้าน
ด้านร่างกาย
|
|||
กล้ามเนื้อมัดเล็ก
- ขีดเขียน วาดภาพ
- ระบายสีไม้ สีเทียน ฝนสี - ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ - ฉีก ปะ ตัด ติด
- ขยำกระดาษ
- ตัดกระดาษตามเส้น
- พับกระดาษ
- ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
- ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
- ประกอบอาหาร
- เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี พับสี ฉีดสี กลิ้งสี พิมพ์สีฯลฯ
|
กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
- เล่นกีฬา เกมการละเล่น เช่น
การโยน-รับลูกบอล เป็นต้น
-
การเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น เคลื่อนไหวประกอบเพลง ประกอบคำบรรยาย เป็นต้น
- กระโดดขาเดียว กระโดดสองขา
- การประดิษฐ์ชิ้นงาน หรือการทดลอง
- การเดิน การวิ่ง
การกระโดด
- การดึง การดัน
การจับ การขว้าง การเตะ
-
การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ
|
ความสัมพันธ์มือ-ตา
- การขีดเขียน การวาดตามแบบ
- การร้อย
- การต่อบล็อก
- การระบายสี
- การติดกระดุม
- การหยิบจับสิ่งของ
- การเล่นเกม กีฬา
เช่น การรับ-การโยน
-
การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น
การรับประทานอาหาร
การแต่งกาย การสวมใส่รองเท้า ถุงเท้า
เป็นต้น
- การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
|
|
- การร้องเพลง การท่องคำคล้องจอง การทำท่าทางประกอบ
- การฟังนิทาน การเล่านิทาน
-
การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น
เล่นกับเพื่อน เล่นกับครู เล่นเครื่องเล่น ฯลฯ
- การเล่น การเก็บของเล่น
- การแบ่งปัน การรอคอย
- การบอกความรู้สึก ความต้องการ
-
การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
- การรู้บทบาทหน้าที่
- ฯลฯ
|
ด้านสติปัญญา
- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-
การใช้ภาษาสื่อความหมาย
และความคิด
-
การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น
สี ขนาด รูปร่าง
เป็นต้น
- การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ
รอบตัว
-
การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ
ได้แก่ ตา หู
จมูก ลิ้น และผิวหนัง
- การสนทนาถาม-ตอบ
- การอธิบาย การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
- เกมการศึกษา
- การทดลอง ฯลฯ
|
||
Web เชื่อมโยงหน่วย “ ชุมชนในอดีต ” กับ 4 สาระพื้นฐาน
ภาษาไทย
|
คณิตศาสตร์
|
ภาษาอังกฤษ
|
วิทยาศาสตร์
|
การฟัง
- ฟังนิทาน
- ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
- ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
- ฟังและตอบคำถาม
- การเป็นผู้ฟังที่ดี
- การฟังและจำแนกเสียง เช่น เสียงสัตว์
การพูด
- บอกความต้องการ/ความรู้สึก
- สนทนาถาม-ตอบ
- อธิบายสิ่งที่เข้าใจ
- ร้องเพลง คำคล้องจอง
- แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
- เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว
เหตุการณ์ที่ได้ฟัง ได้เห็น หรือประสบจริง
- แต่งประโยคจำคำ / ภาพ
- เล่าเรื่องตามภาพ
การอ่าน
- อ่านตามภาพ
- อ่านท่าที ท่าทาง สีหน้า ลักษณะต่างๆ
- การอ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
- อ่านตามตัวอย่าง
- การสะกดคำง่ายๆ เช่น แม่ ก กา
การเขียน
- เขียนตามตัวอย่าง
- เขียนตามจินตนาการ
- การเขียนชื่อตนเอง ฯลฯ
|
การสังเกต การจำแนก การเปรียบเทียบ
- การจำแนกความเหมือนความต่าง มากกว่า น้อยกว่า เท่ากับ
- การจัดหมวดหมู่ เช่น รูปร่าง รูปทรง ขนาด
สี น้ำหนัก
- การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
- การนับจำนวน ลำดับจำนวน สัญลักษณ์แทนจำนวน
- การรู้ค่าจำนวน
- การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
- เข้าใจตำแหน่งที่สัมพันธ์กัน
- เข้าใจระยะ เช่น ใกล้ ไกล ตรงข้าม
ระหว่าง
- การเข้าใจทิศทาง เช่น ซ้าย ขวา หน้า หลัง
- การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
- การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
- การลำดับเหตุการณ์ที่สัมพันธ์กัน
- ฤดูกาล
ทักษะการคิด
- การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
- การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
- ความคิดสร้างสรรค์
- การคิดแก้ปัญหา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
- การฟัง
- การพูด
- การอ่าน
- การเขียน
- ท่าทาง สีหน้า อารมณ์
|
การฟัง
- ฟังคำสั่งเข้าใจ ปฏิบัติตามได้ เช่น Sit
down , Stan up เป็นต้น
- ฟัง เข้าใจความหมาย สนทนาโต้ตอบได้ เช่น What you name
? My
name is…….. What is this ? It’s
a…….
What do like
? I like ……………
- ร้องเพลง เข้าใจความหมาย
การพูด
- พูดสนทนาโต้ตอบ
- บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว เช่น เกี่ยวกับอวัยวะ เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต
/ ไม่มีชีวิต ฯลฯ
การอ่าน
- อ่านคำศัพท์จากภาพ
- อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
- เขียน A-Z
- เขียนชื่อตัวเอง
- เขียนคำตามตัวอย่าง
- เขียนประโยคตามตัวอย่าง
|
ทักษะการสังเกต
- ใช้ประสาทสัมผัส ทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้ม กายสัมผัส
- เปรียบเทียบความเหมือนความต่างของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
- เรียงลำดับเหตุการณ์ก่อนหลังของสิ่งต่างๆ
- จัดกลุ่มได้ตามเกณฑ์ง่ายๆ ที่กำหนดขึ้นเอง เช่น สี รูปร่าง รูปทรง
ขนาด น้ำหนัก
ทักษะการตั้งคำถาม
ตั้งคำถามจากสิ่งที่สังเกตหรือสงสัยได้อย่างสมเหตุสมผล
ทักษะการคาดเดาเหตุการณ์
คาดเดาคำตอบและคาดเดาได้อย่างสมเหตุผล มีความเป็นไปได้ ตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการทดลอง
- เลือกใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์อย่างง่ายได้อย่างเหมาะสม
- ทดลองตามลำดับขั้นตอน
ทักษะการแก้ปัญหา
คิดวิเคราะห์สังเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะเก็บข้อมูล
วาดภาพสรุปขั้นตอนการทดลองตามความเข้าใจของตนเองและอธิบายให้ผู้อื่นเข้าใจ
ทักษะการสรุปผล
- พูดสนทนาโต้ตอบ /
นำเสนอผ่านภาพเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ตารางวิเคราะห์เชื่อมโยงหน่วยสาระที่ควรเรียนรู้
ตัวเรา
รู้จักชื่อ นามสกุล รูปร่าง หน้าตา รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด ปลอดภัย การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว หรือกับผู้อื่น ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น ความรู้สึก และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1. หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
4. หน่วยเนื้อ นม ไข่
5. หน่วยอาหาร
|
บุคคลและสถานที่
เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว สถานศึกษา ชุมชน รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยครอบครัว
2. หน่วยโรงเรียน
3. หน่วยชุมชน
4. หน่วยบุคคลสำคัญ
5. หน่วยเมืองไทย
6. หน่วยวันสำคัญ เช่น วันพ่อ วันแม่ วันครู วันเด็ก ฯลฯ
|
ธรรมชาติรอบตัว
เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต สิ่งไม่มี ชีวิต รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ เช่น ฤดูกาล กลางวัน กลางคืน ฯลฯ
หน่วยสาระ
1. หน่วยสัตว์
2. หน่วยผีเสื้อ
3. หน่วยน้ำ
4. หน่วยพืช ผัก ผลไม้
5. หน่วยดอกไม้
6. หน่วยอากาศ
7. หน่วยกลางวัน กลางคืน
8. หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9. หน่วยฤดูกาล
10. หน่วยตาวิเศษ
|
สิ่งต่างๆ รอบตัว
เด็กควรได้รู้จักสี ขนาด รูปร่าง รูปทรง น้ำหนัก ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว สิ่งของเครื่องใช้ ยานพาหนะ และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิต ประจำวัน
หน่วยสาระ
1. หน่วยการคมนาคม
2. หน่วยการสื่อสาร
3. หน่วยพลังงาน
4. หน่วยวิทยาศาสตร์
5. หน่วยคณิตศาสตร์
6. หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7. หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8. หน่วยของเล่น ของใช้
|